วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

SPORT:BADMINTON3





CODE
int a = 1;          //Global variable

void setup(){
  size(200,200);
}

void draw(){
  background(120,216,252);
  drawBadminton(a);          //User defined function รูปแบบ function with parameter
  a = a + 1;          //ตัวแปร a เท่ากับค่าของ a + 1
    if(a>=100){          //ถ้าตัวแปร a มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 100 ให้ตัวแปร a มีค่าเท่ากับ 0
      a = 0;
    }
}

void drawBadminton(int y){          //เรียกใช้ฟังก์ชันชื่อ drawBadminton()
      //ไม้แบดมินตัน
  strokeWeight(1);
  stroke(118,35,45);
  fill(118,35,45);
  ellipse(100,170,90,100);
  fill(120,216,252);
  ellipse(100,170,88,95);
  line(100,200,100,120);
  line(107,200,105,122);
  line(93,200,95,122);
  line(112,200,110,124);
  line(88,200,90,124);
  line(117,200,115,126);
  line(83,200,85,126);
  line(122,200,120,128);
  line(78,200,80,128);
  line(127,200,125,130);
  line(73,200,75,130);
  line(132,200,130,135);
  line(68,200,70,135);
  line(137,196,135,142);
  line(63,196,65,142);
  line(78,128,122,128);
  line(73,133,127,133);
  line(68,138,132,138);
  line(63,143,137,143);
  line(60,148,140,148);
  line(58,153,142,153);
  line(58,158,142,158);
  line(55,163,145,163);
  line(55,168,145,168);
  line(55,174,145,174);
  line(58,181,142,181);
  line(60,188,140,188);
  line(63,196,137,196);

      //ลูกขนไก่
  noStroke();
  fill(250);
  arc(100,70+y,25,35,0,PI);
  strokeWeight(2);
  stroke(250);
  line(110,70+y,125,35+y);
  line(105,70+y,114,30+y);
  line(100,70+y,100,30+y);
  line(95,70+y,86,30+y);
  line(90,70+y,75,35+y);
  noStroke();
  fill(250);
  ellipse(100,42+y,10,38);
  ellipse(90,44+y,10,35);
  ellipse(88,41+y,10,35);
  ellipse(79,40+y,10,30);
  ellipse(81,50+y,10,25);
  ellipse(112,44+y,10,35);
  ellipse(109,41+y,10,35);
  ellipse(121,40+y,10,30);
  ellipse(119,50+y,10,25);
  stroke(247,5,33);
  line(88,70+y,112,70+y);
}


จากโค้ด  if(a>=100){
                a = 0;
             }

เมื่อตัวแปร a มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 100 ให้ตัวแปร a มีค่าเท่ากับ 0 เพื่อให้ทำซ้ำซึ่งค่าตัวแปร a = 0 ตรงกับค่าเริ่มต้นของตัวแปร a จะทำให้เริ่มต้นใหม่
แต่ถ้าเปลี่ยนค่า (เงื่อนไข) ให้ตัวแปร a มีค่าน้อยกว่า 100 นั้นจะทำให้ลูกขนไก่เริ่มครั้งต่อไปเร็วขึ้น และถ้าเปลี่ยนค่าตัวแปร a ใน{ } ให้มีค่ามากกว่า 0 นั้นจะทำให้ลูกขนไก่เริ่มต้นใหม่ในตำแหน่งที่ต่ำกว่าครั้งแรก ดังรูป ให้  if(a>=60){
                       a = 50; 
                    }



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น